Show simple item record

dc.contributor.authorอาทิตย์ อัศวสุขีen_US
dc.contributor.authorชลหวรรณ คำภูแสนen_US
dc.contributor.authorอัจฉรา เก่งนอกen_US
dc.contributor.authorนิติ กองสินen_US
dc.contributor.authorนฤมล งามดีen_US
dc.date.accessioned2016-07-21T04:22:26Z
dc.date.available2016-07-21T04:22:26Z
dc.date.issued2014
dc.identifier.urihttp://repository.rmutr.ac.th/123456789/192
dc.identifier.urihttp://localhost:8080/xmlui/handle/123456789/192
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการนำลีโอนาร์ไดต์และดินแดงซึ่งเป็นวัสดุที่มีมูลค่าต่ำจากเหมืองแร่ลิกไนต์อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปางมาใช้ในการดูดซับฟี นอลและสีย้อมรวมถึงอินดิเคเตอร์ซึ่งใช้เป็นแบบจำลองของสีย้อมจำนวน 5 ชนิด ได้แก่ รีแอคทีฟเรด พี8บี(Reactivered P8B), แอซิดบลู5อาร์ (Acidblue 5R), ไดเรคต์สการ์เล็ต4บีเอส (Directscarlet 4BS), คองโก เรด (Congored), และเมทิลออเรนจ์ (Methylorange) จากสารละลาย จาก ผลการทดลองพบว่าลีโอนาร์ไดต์มีประสิทธิภาพในการดูดซับฟีนอลและสีย้อมจากสารละลายสูงกว่าดินแดง เมื่อนำลีโอนาร์ไดต์ซึ่งมีสารอินทรีย์เป็น ส่วนประกอบในธรรมชาติ เช่น กรดฮิวมิค (Humicacid) กรดฟูลวิค (Fulvicacid) มาปรับสภาพทางความร้อนด้วยกระบวนการคาร์โบไนเซชัน (Carbonization) ที่อุณหภูมิ 300-900 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 5 ชั่วโมงพบว่าให้ประสิทธิภาพในการดูดซับฟีนอลสูงขึ้น แต่ในกรณีของการดูดซับสี ย้อมมีทั้งให้ประสิทธิภาพในการดูดซับสูงขึ้นและลดต่ำลงขึ้นกับชนิดของสีย้อม ทั้งนี้อาจเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพขั้วและพื้นที่ผิวของตัวดูดซับen_US
dc.language.isoTHen_US
dc.publisherสาขาวิชาเคมีประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานen_US
dc.subjectการดูดซับen_US
dc.subjectฟีนอลen_US
dc.subjectสีย้อมen_US
dc.subjectลีโอนาร์ไดต์en_US
dc.subjectดินแดงen_US
dc.titleการดูดซับฟีนอลและสีย้อมจากสารละลายด้วยลีโอนาร์ไดต์และดินแดงen_US
dc.title.alternativeการดูดซับฟีนอลและสีย้อมจากสารละลายด้วยลีโอนาร์ไดต์และดินแดงen_US
dc.typeResearchen_US


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record