Show simple item record

dc.contributor.authorเสริมสุข บัวเจริญen_US
dc.contributor.authorบุญยืน อินกว่างen_US
dc.contributor.authorวรเทพ บุญญะen_US
dc.contributor.authorจุฑาทิพย์ เฉลิมพลen_US
dc.date.accessioned2016-07-16T08:09:51Z
dc.date.available2016-07-16T08:09:51Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://repository.rmutr.ac.th/123456789/174
dc.identifier.urihttp://localhost:8080/xmlui/handle/123456789/174
dc.description.abstractการวิจัยการนี้มีจุดประสงค์เพื่อที่จะ พัฒนาพลังงานทดแทนอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืนตามโครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคงพื้นที่ชายแดนตามแนวทางพระราชทาน จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยมีกระบวนการวิจัยขั้นตอน 5 ขั้นตอน ประกอบด้วยขั้นตอนที่ 1. ศึกษาความต้องการ และปัญหาในการใช้พลังงานของชุมชน ขั้นตอนที่ 2. พัฒนาประสิทธิภาพของเทคโนโลยีการผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานธรรมชาติ ที่ทนทานและมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ขั้นตอนที่ 3. ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของระบบพลังงานทดแทนที่นำไปติดตั้งเพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจของหน่วยงาน อปท. ในการลงทุนและขยายผลไปสู่พื้นที่อื่น ขั้นตอนที่ 4.ศึกษารูปแบบกลไกความเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานทหาร และหน่วยงานภาครัฐอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่กับชุมชนเป้าหมาย ในการร่วมมือเพื่อพัฒนาและเรียนรู้ระบบพลังงานทดแทน การติดตั้งพลังงานทดแทน และการบำรุงรักษา ขั้นตอนที่ 5.สร้างการเรียนรู้ของชุมชนในการใช้พลังงานทดแทนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และประเมินความเข้าใจและความพึงพอใจของชุมชน ผลจากการวิจัยพบว่า หมู่บ้าน พมพ.ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ ชายแดนมีความต้องการพลังงานทดแทนที่นำไปใช้ผลิตไฟฟ้าแสงสว่างเพื่อความปลอดภัย และต้องการ การเรียนรู้และปฏิบัติการบำรุงรักษาเพื่อ “เพื่อรู้ รักษา”ด้วยชุมชนเอง และพบว่าการพัฒนาประสิทธิภาพของเทคโนโลยีพลังงานทดแทนที่เหมาะกับพื้นที่ ร่วมกับหน่วยงานอปท. และชุมชนอย่างมีส่วนร่วมรับรู้ไปพร้อมกันกับหน่วยทหารในพื้นที่ๆรับผิดชอบความมั่นคงตามแนวชายแดน จะช่วยทำให้เกิดกลไกในการพัฒนาพลังงานทดแทน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เกิดความพึงพอใจของชุมชน เกิดความมั่นคงของหมู่บ้าน พมพ. พื้นที่ชายแดนจังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวน 30 หมู่บ้านen_US
dc.language.isoTHen_US
dc.publisherวิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ , กรมทหารราบที่ 7 ค่ายกาวิละ , กรมทหารราบที่ 17 กองพันทหารราบที่ 5 กรมทหารราบที่ 7 ค่ายโสณบัณฑิตย์ , คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพลังงานทดแทนen_US
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียงen_US
dc.subjectพลังงานธรรมชาติen_US
dc.titleCollaborative Research of Sustainable Alternative Energy for Home Land Security of Village along Thai-Myanma Border Follow His Majestic The King’s Initiative,Mae Hong Son Provinceen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาพลังงานทดแทนอย่างมีส่วนร่วม และยั่งยืนตามโครงการพัฒนาหมู่บ้านเพื่อความมั่นคงพื้นที่ชายแดนตามแนวทางพระราชทาน จังหวัดแม่ฮ่องสอนen_US
dc.typeResearchen_US


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record