Show simple item record

dc.contributor.authorอรรถกร อาสนคำen_US
dc.contributor.authorวรพจน์ โพธาเจริญen_US
dc.contributor.authorเบญจพร เครือทะนันไชยen_US
dc.contributor.authorทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์en_US
dc.contributor.authorณัฐวุฒิ ดุษฎีen_US
dc.contributor.authorกิตติกร สาสุจิตต์en_US
dc.contributor.authorอดิศักดิ์ ปัตติยะen_US
dc.date.accessioned2016-07-15T13:30:47Z
dc.date.available2016-07-15T13:30:47Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://repository.rmutr.ac.th/123456789/171
dc.identifier.urihttp://localhost:8080/xmlui/handle/123456789/171
dc.description.abstractบทความนี้นำเสนอแนวทางการนำวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร มาผลิตเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพ ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในการจัดการแบบไม่มีของเสีย เหลือทิ้ง วัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร เช่น เมล็ดมะเยาหิน เมล็ดปาล์มน้ำมัน หลังจากหีบเพื่อสกัดน้ำมันแล้ว จะถูกนำมาบดละเอียด ตากแห้ง และ นำไปผลิตน้ำมัน และถ่านชีวภาพ ภายใต้กระบวนการไพโรไลซิส ในกรณีที่มีความต้องการน้ำมันชีวภาพปริมาณสูงจะใช้กระบวนการไพโรไลซิสแบบเร็ว กรณีที่มีความต้องการปริมาณถ่านสูง และคุณภาพดีจะใช้กระบวน การไพโรไลซิสแบบช้า สำหรับส่วนใบหรือกิ่งหรือทะลายปาล์ม แม้กระทั่งกากที่ เหลือจากการหีบน้ำมัน ที่ไม่ผ่านการไพโรไลซิส จะนำมาบดละเอียด ตากแห้งและอัดขึ้นรูปเพื่อนำไปผลิตแท่งเชื้อเพลิง (RDF-5) ซึ่งสามารถนำไปใช้ใน การหุงต้ม หรือเป็นวัตถุดิบในการผลิตแก๊สสังเคราะห์ โดยผ่านกระบวนการแก๊สซิฟิเคชั่น แก๊สสังเคราะห์ดังกล่าวสามารถนำไปใช้เดินเครื่องกำเนิด ไฟฟ้า จ่ายไฟฟ้าไปใช้ประโยชน์ได้ เถ้าที่เกิดในกระบวนการแก๊สซิฟิเคชัน สามารถนำไปปรับความเป็นกรด-ด่างของดิน หรือใช้ผสมซีเมนต์ เพื่อผลิต คอนกรีต สำหรับน้ำมันพืชดิบหลังการหีบเมล็ดน้ำมัน ที่ผ่านกระบวนการทรานส์เอสเตอริฟิเคชัน เพื่อผลิตไบโอดีเซล จะได้กลีเซอรีน ซึ่งสามารถนำมา เป็นตัวประสานในการผลิตแท่งเชื้อเพลิง (RDF-5) ซึ่งจะช่วยเพิ่มค่าความร้อนในเชื้อเพลิง นอกจากนี้ในบทความนี้ยังนำเสนอวิธีการจับฝุ่นขนาดเล็กที่ เกิดจากการเผาไหม้ โดยการใช้สนามไฟฟ้ารวมอนุภาคฝุ่นขนาดเล็กให้มีขนาดที่ใหญ่ขึ้น สามารถดักจับได้ง่ายขึ้นโดยเครื่องดักเก็บฝุ่นด้วยสนามไฟฟ้า เทคนิคข้างต้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชุมชน เป็นแนวทางหนึ่งในการจัดการบริหารที่ไม่มีของเสียหรือวัสดุเหลือทิ้ง หรือให้มีอย่างน้อยที่สุดen_US
dc.language.isoTHen_US
dc.publisherภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามen_US
dc.subjectเชื้อเพลิงชีวภาพen_US
dc.subjectการจัดการแบบไม่มีของเสียen_US
dc.subjectวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตรen_US
dc.subjectการผลิตน้ำมันen_US
dc.subjectถ่านชีวภาพen_US
dc.titleBio-oil and Bio-char Production from Agricultural Residue under A Concept of Zero Waste Managementen_US
dc.title.alternativeการผลิตน้ำมันและถ่านชีวภาพจากวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตรภายใต้แนวทางการจัดการแบบไม่มีของเสียเหลือทิ้งen_US
dc.typeResearchen_US


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record