dc.contributor.author | ธีรภัทร ทวีวงศ์ | en_US |
dc.contributor.author | อนุสรณ์ ธนเสนา | en_US |
dc.contributor.author | อัมรินทร์ จงไพศาล | en_US |
dc.contributor.author | นัฐโชติ รักไทยเจริญชีพ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-07-11T07:37:44Z | |
dc.date.available | 2016-07-11T07:37:44Z | |
dc.date.issued | 2014-11 | |
dc.identifier.uri | http://repository.rmutr.ac.th/123456789/163 | |
dc.identifier.uri | http://localhost:8080/xmlui/handle/123456789/163 | |
dc.description.abstract | บทความนี้นำเสนอแบบจำลองความเข้มแสงที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของค่าความเข้มแสงกับแหล่งผลิตไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์หรือเซลล์แสงอาทิตย์นำมาทดสอบการรับค่าความเข้มแสงของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่ทำจากซิลิกอนชนิดผลึกเดี่ยวเปรียบเทียบกัน ระหว่างแหล่งกำเนิดแสงจากแบบจำลองความเข้มแสงที่มีชุดควบคุมความเข้มของแสง โดยมีแหล่งกำเนิดแสงเป็นหลอดทังสเตนฮาโลเจนและจาก แสงอาทิตย์ธรรมชาติในระดับความเข้มของแสง 100 ถึง 1000วัตต์ต่อตารางเมตรเพื่อศึกษาดูผลกระทบของแรงดันไฟฟ้าที่ออกจากแผงเซลล์ แสงอาทิตย์ที่แรงดันไฟฟ้าในสภาวะปกติและแรงดันไฟฟ้าในสภาวะการชาร์จแรงดันไฟฟ้าที่มีโหลดไม่เกิน100 วัตต์จากการทดสอบแสดงให้เห็นว่า แบบจำลองความเข้มแสงมีค่าความผิดพลาดเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 6.12 โดยมีค่าผิดพลาดสูงสุดร้อยละ 10.44 เมื่อนำชุดกำเนิดแสงอาทิตย์เทียมไปใช้กับ แผงเซลล์แสงอาทิตย์ พบว่า สามารถควบคุมค่าความเข้มของแสงให้ใกล้เคียงกับแสงอาทิตย์ธรรมชาติตามความเข้มแสงที่กำหนดไว้ได้ รวมถึง แรงดันไฟฟ้าที่ออกจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ทั้งสองสภาวะมีค่าแรงดันไฟฟ้าใกล้เคียงกันกับแสงอาทิตย์ธรรมชาติ และความเข้มของแสงตั้งแต่300 วัตต์ ต่อตารางเมตรขึ้นไปสามารถใช้ได้กับโหลดคงที่100 วัตต์ ได้อย่างต่อเนื่องมีประสิทธิภาพ และมีความมั่นคงในการใช้ไฟฟ้า | en_US |
dc.language.iso | TH | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร | en_US |
dc.subject | แบบจำลองความเข้มรังสีแสงอาทิตย์ | en_US |
dc.subject | เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดผลึกเดี่ยว | en_US |
dc.subject | สภาวะการชาร์จแรงดันไฟฟ้า | en_US |
dc.title | Solar Irradiance Model of Photovoltaic Module | en_US |
dc.title.alternative | แบบจำลองความเข้มแสงของแหล่งผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ | en_US |
dc.type | Research | en_US |