Show simple item record

dc.contributor.authorเจตน์สฤษฏิ์ รักษกุลวิทยาen_US
dc.contributor.authorธีรศักดิ์ เชียงจูกงen_US
dc.contributor.authorวิริยะนนท์ คุ้มศิริวงศ์en_US
dc.contributor.authorเจนศักดิ์ เอกบูรณะวัฒน์en_US
dc.contributor.authorพีรวัจน์ มีสุขen_US
dc.date.accessioned2016-07-07T04:13:38Z
dc.date.available2016-07-07T04:13:38Z
dc.date.issued2014
dc.identifier.urihttp://repository.rmutr.ac.th/123456789/110
dc.identifier.urihttp://localhost:8080/xmlui/handle/123456789/110
dc.description.abstractบทความนี้กล่าวถึงการทดสอบและปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าชนิดแม่เหล็กถาวร โดยทำการปรับระยะห่างของช่องว่าง อากาศ (air-gap) ระหว่างโรเตอร์กับสเตเตอร์ให้เปลี่ยนแปลงไปตามความเหมาะสม ซึ่งระยะของช่องว่างอากาศน้อยจะทำให้โรเตอร์เข้าใกล้สเตเตอร์ มากที่สุด เครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ใช้สำหรับการทดสอบนี้มีสเตเตอร์ที่ประกอบด้วยขดลวดทองแดง 9 ขด หล่อขึ้นรูปด้วยเรซิ่น และโรเตอร์มีจำนวน 2 ชุด ประกอบด้วยแม่เหล็กถาวรชุดละ 12 ก้อน หล่อด้วยเรซิ่นเช่นกัน ทำการทดสอบเครื่องกำเนิดไฟฟ้าโดยใช้มอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 5.5 แรงม้าเป็นตัวต้น กำลัง โดยปรับความเร็วรอบของมอเตอร์ต้นกำลังด้วยอินเวอร์เตอร์ขนาด 5 แรงม้า ให้เป็นไปตามความเร็วรอบที่คำนวณได้จากขนาดใบพัดของกังหัน ลมที่ความเร็วลมระดับต่างๆ วัดค่ากำลังไฟฟ้าที่ใช้และกำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้มาสร้างเป็นกราฟกำลังไฟฟ้าเทียบกับความเร็วลมแล้วดูประสิทธิภาพที่ได้en_US
dc.language.isoTHen_US
dc.publisherสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาen_US
dc.subjectเครื่องกำเนิดไฟฟ้าชนิดแม่เหล็กถาวรen_US
dc.subjectช่องว่างอากาศen_US
dc.subjectประสิทธิภาพen_US
dc.titleAnalysis of Permanent Magnet Generator Efficiency Effect from an Air-Gapen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าชนิดแม่เหล็กถาวรที่มีผลมาจากช่องว่างอากาศen_US
dc.typeResearchen_US


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record