• Login
    View Item 
    •   DSpace Home
    • คณะ/วิทยาลัย (Faculty and College)
    • คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ (Faculty of Architecture and Design)
    • งานวิจัย (Research)
    • View Item
    •   DSpace Home
    • คณะ/วิทยาลัย (Faculty and College)
    • คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ (Faculty of Architecture and Design)
    • งานวิจัย (Research)
    • View Item
    JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

    การออกแบบ และพัฒนารูปแบบวัสดุตกแต่งสำเร็จรูปจากฟางข้าวและขี้โฟม สำหรับอาคารสำนักงาน

    Thumbnail
    View/Open
    การออกแบบและพัฒนารูปแบบวัสดุตกแต่งสำเร็จรูปจากฟางข้าวและขี้โฟม สำหรับอาคารสำนักงาน.pdf (17.29Mb)
    Date
    2014-09
    Author
    ณัฐริกา พรมทา
    รองศาสตราจารย์ ทรงกลด จารุสมบัติ
    Metadata
    Show full item record
    Abstract
    การวิจัยเรื่อง การออกแบบ และพัฒนารูปแบบวัสดุตกแต่งสำเร็จรูปจากฟางข้าวและขี้โฟม สำหรับอาคารสำนักงาน มีวัตถุประสงค์ 1.ศึกษารูปแบบวัสดุตกแต่งสำเร็จรูปจากฟางข้าว เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการออกแบบผลิตภัณฑ์ 2.เพื่อออกแบบและพัฒนารูปแบบวัสดุตกแต่งสำเร็จรูป จากฟางข้าวและขี้โฟมสำหรับอาคารสำนักงาน 3.เพื่อศึกษากรรมวิธีการผลิตที่เหมาะสมกับการผลิตในระบบอุตสาหกรรม โดยผู้วิจัยได้ดำเนินการศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัสดุการออกแบบ และผู้เชี่ยวชาญทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ รวมถึงความพึงพอใจของกลุ่มผู้บริโภค หรือบุคคลที่สนใจรูปแบบวัสดุตกแต่ง สำหรับอาคารสำนักงาน จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ โดยดำเนินการ 3 ระยะ คือ 1. สอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อการพิจารณาชนิด และคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่จะนำมาพัฒนาเป็นแนวทางการออกแบบวัสดุตกแต่งสำเร็จรูปจากฟางข้าว และขี้โฟม สำหรับอาคารสำนักงาน 2. สอบถาม และสัมภาษณ์กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางด้านการออกแบบ เพื่อประเมินความพึงพอใจในด้านต่างๆจากการประยุกต์ในการสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ 3. ประเมินความพึงพอใจที่มีต่อผลงานและพัฒนารูปแบบวัสดุตกแต่งสำเร็จรูปจากฟางข้าวและขี้โฟม สำหรับอาคารสำนักงาน สรุปผลการประเมินความคิดเห็น ของกลุ่มตัวอย่าง ที่มีต่อ ผลิตภัณฑ์จากการประยุกต์ในการสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ฉากกั้นสำนักงาน ( OFFICE PARTITION ) ในด้านประโยชน์ใช้สอยของผลิตภัณฑ์ ด้านความงาม ด้านความคงทนแข็งแรงในการใช้งาน ด้านกระบวนการผลิต มีค่าเฉลี่ย โดยรวมในทุกด้านเท่ากับ 3.62 อยู่ในระดับ ดี เป็นข้อมูลสรุปอธิบายผลการวิจัยให้มีความชัดเจนสอดคล้องต่อวัตถุประสงค์ของงานวิจัยมากยิ่งขึ้น
    URI
    http://localhost:8080/xmlui/handle/123456789/62
    Collections
    • งานวิจัย (Research)

    DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
    Contact Us | Send Feedback
    Theme by 
    Atmire NV
     

     

    Browse

    All of DSpaceCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjects

    My Account

    LoginRegister

    DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
    Contact Us | Send Feedback
    Theme by 
    Atmire NV